[smartslider3 slider=”2″]


เพราะ โรงเรียนบ้านวังวน เป็น โรงเรียนใกล้บ้าน โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชน การเดินทางสะดวกปลอดภัย จัดการเรียนการสอนได้มาตรฐาน ลูกหลานที่เรียนจบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้เรียนต่อ โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม ทุกคน โดยไม่ต้องสอบคัดเลือก

ผู้ปกครองสามารถมาส่งบุตรหลานได้แต่เช้า 7.00 น. มารับกลับได้ในช่วงเวลา 15.30 น. หรือจะให้เด็กๆเล่นรอผู้ปกครองที่สนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย มีครูบ้านพักครูคอยสอดส่องดูแล

โรงเรียนบ้านวังวน เป็นโรงเรียนใกล้บ้าน ที่ไม่ต้องเดินทางไกล ไม่เสี่ยงอันตรายจากการเดินทาง เวลาได้ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว ไม่ต้องเอาเวลาไปใช้ในการเดินทาง

โรงเรียนบ้านวังวน เป็นโรงเรียนที่บ่มเพาะปัญญาภายในของผู้เรียนด้วย กระบวนการจิตศึกษา เน้น การสร้างวินัยเชิงบวก ไม่มีการลงโทษผู้เรียนด้วยการตี เด็ดขาด เน้นทักษะและกระบวนการคิด พัฒนา EF ให้ผู้เรียนได้ดูแลและกำกับตัวเอง ผ่านกระบวนการเหล่านั้น

โรงเรียนบ้านวังวัน เป็นโรงเรียนที่ร่วมสร้างปัญญาภายนอก สอนวิชาการด้วย กระบวน PBL ที่เริ่มต้นจากการขบคิดปัญหาที่นักเรียนอยากแก้ไข แล้วสร้างเป็นหน่วยการเรียนรู้บูรณาการสาระวิชาต่างๆเข้าด้วยกัน นักเรียนจะได้ใช้ทุกทักษะและทุกวิชา ในการเข้าแก้ปัญหาแต่ละหน่วยแต่ละสัปดาห์ แต่ละควอเตอร์ สนุก ตื่นเต้น ไม่ต้องนั่งอยู่ที่โต๊ะตลอดทั้งวัน

และที่สำคัญ โรงเรียนบ้านวังวน มีเป้าหมายในการจัดการศึกษาไว้ว่า ” ผู้เรียนเป็นสุข ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ” พี่ๆทุกคนที่ได้เรียนที่นี่ ที่โรงเรียนบ้านวังวน จะได้รับการบ่มเพาะภายใต้สนามพลังบวก มีความสุข

จิตศึกษา จะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนา “ปัญญาภายใน” ทำให้ผู้เรียน​เข้าใจตัวเอง ใคร่ครวญกำกับตัวเองได้ มีเป้าหมายของตัวเอง ซึ่งจิตศึกษา มี 3 กระบวนทัศน์ ซึ่งต้องทำทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ กระบวนทัศน์แรก ​ครูต้องสร้าง “สนามพลังบวก” ให้นักเรียนรู้สึกว่าอยู่ที่นี่ปลอดภัย ได้รับการเคารพ ร่วมไปกับทางกายภาพของสถานที่มีความสะอาดร่มรื่นปลอดภัย ​มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูและลูกศิษย์

“เราจะทำทุกอย่างไม่ให้เด็กรู้สึกว่าถูกบังคับ เราจะไม่มีเสียงออด เสียงระฆัง โดยสร้างวิถีที่เป็นวัฒนธรรมใหม่ที่เด็กต้องกำกับตัวเองให้ได้ในแต่ละช่วงเวลา ว่าเวลานี้จะทำอะไร เวลานี้ต้องหยุด สร้างความสม่ำเสมอจนมีเซนส์เรื่องเวลา กำกับตัวเองโดยไม่ต้องมีใครมาบอกว่าใกล้เวลาเข้าแถว เข้าห้องเรียนแล้ว”

ถัดมา กระบวนทัศน์ที่สอง ครูต้องใช้จิตวิทยาเชิงบวกกับเด็ก มีสิ่งที่ต้องลดไม่ทำกับสิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ซึ่งอยู่บนหลักการเดียวกันคือเคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกันของเด็ก โดยสิ่งที่ไม่ควรทำก็เช่น การเปรียบเทียบ การจัดอันดับ ส่วนสิ่งที่ควรทำเพิ่มก็เช่น การรับ​การชื่นชม การไว้วางใจต่อเขา สิ่งต่างๆเหล่านี้ เสริมให้สมองส่วนกลางของเด็กให้ปลอดภัย ทำให้เขารู้สึกได้รับเกียรติ มีคุณค่าพอที่จะเรียนรู้กับเพื่อนได้

กระบวนทัศน์ที่สามคือกิจกรรมจิตศึกษา มีสามขั้นตอนคือ 20 นาทีแรก ครู จะต้องเตรียมสภาวะจิตเด็กเช่น บริหารสมอง (เบรน ยิม) ​หรืออทำอะไรก็ได้ให้​เด็กมีสติ ​2-5 นาที จากนั้นครูให้ประสบการณ์บางเรื่องเพื่อให้เกิดการรีเฟลคชั่น ​ให้สมองส่วนหน้าได้คิดวิเคราะห์ตัดสินใจเพื่อเลือกทำอะไรบางอย่าง และจบลงด้วยเอ็มพาวเวอร์ (Empower)

ทั้งนี้ ​กิจกรรมมีเป้าหมาย 3 ระดับ คือ ฝึกให้เด็ก มีความชำนาญ มีสติ สามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองตลอดเวลา
และมีความสามารถตัดสินใจเลือกเชิงจริยธรรมได้ มีความสามารถเลือกเพื่อนำตัวเองได้ ทำลายสิ่งไม่ดี และเป้าหมายระดับสูงคือฝึกให้ผู้เรียนเห็นสิ่งต่างๆ อย่างเป็นจริงในสิ่งที่มันเป็นโดยไม่ตัดสินว่ามันดีเลวอย่างไร

“การฝึกอย่างนี้สัก 200 วัน โครงสร้างสมองย่อมเปลี่ยน มีภาวะการใคร่ครวญ สูงมาก เขาจะเลือกตัดสินใจอะไร
ด้วยความระมัดระวัง ​ดูผลกระทบ ​เขาจะพบตัวเอง เป้าหมายคือการทำให้เขาปฏิบัติต่อสิ่งที่เขามากระทบตัวเองอย่างไร ดำเนินชีวิตอย่างไรให้ไม่เบียดเยียนคนอื่น คอนเซ็ปต์ทั้งหมดสามารถใช้ได้กับนักเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึง ม.3 แต่ก็จะแตกต่างไปในลักษณะกิจกรรมที่เป็นไปตามวัย”

Cr. วิเชียร ไชยบัง ครูใหญ่ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จากลิ้งก์ https://www.eef.or.th/tsqp208


ภาพกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนของครูอนุบาล 1- ประถมศึกษาปีที่ 6 ทางเพจ Facebook

ข่าวประชาสัมพันธ์

PLC และ AAR เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ดูกิจกรรม PLC และ AAR ทั้งหมด

เสริมสร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน

อ่านแรงบันดาลใจทั้งหมด

บันทึกกิจกรรมจิตศึกษา

การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาปัญญาภายในของผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ บันทึกโดยครูผู้สอนในระดับชั้นอนุบาล 1 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ดูบันทึกกิจกรรมจิตศึกษาทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาอนุบาล 1 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาอนุบาล 2 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาอนุบาล 3 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาประถมศึกษาปีที่ 3 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาประถมศึกษาปีที่ 4 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาประถมศึกษาปีที่ 5 ทั้งหมด

ดูกิจกรรมจิตศึกษาประถมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมด

กระบวนการเรียนการสอน PBL

กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) โดยการบูรณาการรายวิชาต่างๆ เข้าด้วยกัน เริ่มจากปัญหาใกล้ตัวที่นักเรียนสนใจ เกิดเป็นโครงงานที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาการเรียนรู้ ทักษะ กระบวนการอย่างยั่งยืน

ดูบันทึก PBL ทั้งหมด

ศิริธร ศรีหาวัตร

มีนาคม 21, 2021

ศิริธร ศรีหาวัตร

กุมภาพันธ์ 27, 2021

ศิริธร ศรีหาวัตร

กุมภาพันธ์ 14, 2021

ดู PBL อนุบาล 1 ทั้งหมด

ศิริธร ศรีหาวัตร

ธันวาคม 20, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

กุมภาพันธ์ 28, 2021

ดู PBL อนุบาล 2 ทั้งหมด

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

ธันวาคม 19, 2021

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

มีนาคม 28, 2021

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

มีนาคม 22, 2021

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

มีนาคม 14, 2021

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

มีนาคม 7, 2021

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

กุมภาพันธ์ 28, 2021

ดู PBL อนุบาล 3 ทั้งหมด

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 29, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 29, 2021

ศิริธร ศรีหาวัตร

มีนาคม 28, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 14, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 7, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

กุมภาพันธ์ 18, 2021

ดู PBL ประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งหมด

ดู PBL ประถมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 28, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 21, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 14, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 6, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

กุมภาพันธ์ 25, 2021

ดู PBL ประถมศึกษาปีที่ 3 ทั้งหมด

วรรณศิริ บุญรอด

มีนาคม 17, 2021

วรรณศิริ บุญรอด

มีนาคม 8, 2021

ดู PBL ประถมศึกษาปีที่ 4 ทั้งหมด

ศิริธร ศรีหาวัตร

ธันวาคม 20, 2021

สายรุ้ง ปลื้มอารมณ์

ธันวาคม 19, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 31, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 31, 2021

โรงเรียนบ้านวังวน

มีนาคม 31, 2021

ดู PBL ประถมศึกษาปีที่ 5 ทั้งหมด

ครูจินตนา โชติเสน

มีนาคม 27, 2021

ครูจินตนา โชติเสน

มีนาคม 20, 2021

ครูจินตนา โชติเสน

มีนาคม 14, 2021

ครูจินตนา โชติเสน

มีนาคม 6, 2021

ครูจินตนา โชติเสน

กุมภาพันธ์ 25, 2021

ครูจินตนา โชติเสน

กุมภาพันธ์ 20, 2021

ดู PBL ประถมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมด

การเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ

กระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ ตามนโยบาย อ่านเขียนต้องได้ ภาษาอังกฤษต้องดี ไอซีทีต้องเหนือชั้น

ดูกระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ทั้งหมด


สาระความรู้ และสื่อการสอน

Web Service